เว็บตรง / บาคาร่าเว็บตรง เตรียมปากสั่น ไทยเข้าฤดูหนาว 2 พ.ย. นี้ ภาคใต้ตอนบนหนาวเป็นพัก ๆ

เว็บตรง / บาคาร่าเว็บตรง เตรียมปากสั่น ไทยเข้าฤดูหนาว 2 พ.ย. นี้ ภาคใต้ตอนบนหนาวเป็นพัก ๆ

เว็บตรง / บาคาร่าเว็บตรง เตรียมปากสั่น ไทยเข้าฤดูหนาว 2 พ.ย. นี้ กรมอุตุยันเอง หมดลมหนาว ก.พ. 2565 ตอนบนของภาคใต้อากาศเย็นบางแห่งในบางวัน ประเทศไทย ฤดูหนาว – วันที่ 29 ตุลาคม 2564 นายณัฐพล ณัฏฐสมบูรณ์ อธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยา ออกประกาศแจ้งเรื่องเรื่องการเริ่มต้นฤดูหนาวของประเทศไทยในปี พ.ศ.2564

ระบุว่า ประเทศไทยจะเริ่มเข้าสู่ฤดูหนาว 

ตั้งแต่วันที่ 2 พฤศจิกายน 2564 โดยลมที่พัดปกคลุมบริเวณประเทศไทยที่ระดับความสูง 100 เมตร ถึงความสูง 3,500 เมตร ได้เปลี่ยนเป็นลมตะวันออกเฉียงเหนือหรือลมตะวันออก ส่วนลมระดับบนที่ความสูงตั้งแต่ 5,000 เมตรขึ้นไป ได้เปลี่ยนเป็นลมฝ่ายตะวันตกอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับอุณหภูมิต่ำสุดในช่วงเช้าบริเวณประเทศไทยตอนบนลดลงอยู่ในเกณฑ์อากาศเย็นเกือบทั่วไป

อย่างไรก็ตามในช่วงเริ่มต้นของฤดูหนาวในปีนี้ ลักษณะอากาศบริเวณประเทศไทยตอนบนยังคงแปรปรวน โดยจะมีฝนตกในบางช่วงแต่ปริมาณไม่มากนัก ส่วนบริเวณภาคใต้ยังคงมีฝนตกชุกหนาแน่นต่อไป

พยากรณ์อากาศฤดูหนาว รายภาค ประเทศไทยตอนบน อุณหภูมิเฉลี่ย 20-21 องศาเซลเซียส ค่าปกติอยู่ที่ 19.9 องศาเซลเซียส โดยจะสูงกว่าค่าปกติประมาณ 0.5 องศาเซลเซียส ฤดูหนาวปี 2564 นี้ั อากาศจะหนาวเย็นใกล้เคียงปี 2563 ที่อุณหภูมิเฉลี่ยต่ำสุด 20.2 องศาเซลเซียส

ส่อง รายชื่อจังหวัดสีโซนโควิด หลังที่ประชุม ศบค. มีมติปรับลดพื้นที่สีแดงเข้มเหลือแค่ 7 จังหวัด ขณะที่กรุงเทพย้ายไปอยู่พื้นที่สีฟ้า รอรับนักท่องเที่ยว

นพ.ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน โฆษกศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)  ได้รายงานถึงผลการประชุมของ คณะกรรมการบริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) หรือ ศบค.ครั้งที่ 17/2564 ซึ่งมี พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นประธาน

โดยในที่ประชุมมีมติเห็นชอบ ตามที่ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข กรณีโรคติดเชื้อโควิด – 19 สธ.เสนอแผนการให้บริการวัคซีนโควิด–19 เสนอการปรับระดับพื้นที่สถานการณ์ย่อยในพื้นที่ทั่วราชอาณาจักร เบื้องต้นได้มีคำสั่ง ปรับพื้นที่ควบคุมและเข้มงวดสูงสุด (สีแดงเข้ม) 23 จังหวัด เหลือ 7 ได้แก่ จันทบุรี ตาก นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปัตตานี ยะลา และสงขลา

พื้นที่ควบคุมสูงสุด 30 จังหวัด เป็น 38 จังหวัด และ พื้นที่ควบคุม 24 จังหวัด เป็น 23 จังหวัด พื้นที่เฝ้าระวังสูง 5 จังหวัด ได้แก่ นครพนม น่าน บึงกาฬ มุกดาหาร สกลนคร พื้นที่เฝ้าระวัง ไม่มีขณะที่ พื้นที่สีฟ้าหรือพื้นที่นำร่องการท่องเที่ยว 4 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร กระบี่ พังงา ภูเก็ต

กรมควบคุมโรค ยันไม่ขวางทาง มธ. นำเข้าโมเดอร์นา

หมอโอภาส อธิบดีกรมควบคุมโรค ยืนยันว่าไม่มีขัดขวาง มธ. นำเข้าโมเดอร์นา จากภาคเอกชนโปแลนด์ ย้ำต้องหาคนรับผิดชอบเรื่องความปลอดภัย นพ.โอภาส การย์กวินพงศ์ อธิบดีกรมควบคุมโรค ได้ออกมากล่าวถึงประเด็นเอกสารของกระทรวงต่างประเทศ แนะนำให้ มธ.หารือกับกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ในการรับบริจาควัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ยี่ห้อโมเดอร์นา จากภาคเอกชน ของประเทศโปแลนด์

โดยกรมควบคุมโรคไม่ทราบถึงเงื่อนไขการบริจาควัคซีนล็อตดังกล่าว แต่เท่าที่ทราบคือ ไม่ได้เป็นการบริจาคระหว่างหน่วยงานรัฐกับหน่วยงานรัฐ ส่วนหนังสือที่ กต.ส่งคำแนะนำให้กับทางมหาวิทยาลัย โดยใช้คำว่า “อาจจะ” ปรึกษากรมควบคุมโรคได้นั้น

“ตามข้อเท็จจริงแล้ว เรื่องดังกล่าวเกิดขึ้นในส่วนของภาคเอกชน ไม่เกี่ยวข้องกับรัฐบาล แต่เรายินดีให้คำปรึกษา หากเขาขอคำปรึกษามา แต่ตอนนี้ยังไม่ได้รับการติดต่อใดๆ มาเลย ยืนยันว่าหากสามารถนำเข้ามาได้ ก็ให้ดำเนินการได้ โดยไม่มีการขัดข้องใดๆ” นพ.โอภาสกล่าว

อธิบดีกรมควบคุมโรคกล่าวว่า ส่วนการบริจาควัคซีนระหว่างภาคเอกชนนั้น จะขึ้นอยู่กับเงื่อนไขด้วย แต่เนื่องจากวัคซีนไม่ใช่สินค้าทั่วไป ไม่ใช่สบู่ หรือยาสีฟัน ที่เราใช้กันทั่วไป เพราะต้องคำนึงถึงประสิทธิภาพและความปลอดภัยโดย 1.ประสิทธิภาพ วัคซีนบริจาคมาแล้ว ต้องเก็บในอุณหภูมิที่เหมาะสมอย่างดี ดังนั้น การรับบริจาคมาต้องคำนึงถึงส่วนนี้ด้วยว่าการเก็บมาก่อนหน้านี้ ได้ดำเนินการเก็บดีหรือไม่

“หากเป็นรัฐต่อรัฐ เราก็คุยกันได้ แต่หากเป็นเอกชนกับเอกชนก็ต้องคำนึงเรื่องนี้ด้วย 2.ความปลอดภัย เพราะวัคซีนส่วนใหญ่ยังใช้ในภาวะฉุกเฉิน ดังนั้น หากพบปัญหาขึ้น จะต้องมีผู้รับผิดชอบ หากเป็นรัฐต่อรัฐนั้น จะต้องนำเข้าหารือในคณะรัฐมนตรี (ครม.) เพื่อขอความเห็นชอบว่ารัฐบาลยินดีพร้อมรับผิดชอบ แต่เมื่อเป็นเอกชนแล้ว ใครจะรับผิดชอบ ต้องตอบให้ได้” นพ.โอภาสกล่าว

ผู้สื่อข่าวถามว่า หากเป็นการบริจาคระหว่างเอกชนด้วยกัน จะต้องประสานหน่วยงานรัฐมาก่อนหรือไม่ นพ.โอภาสกล่าวว่า ไม่จำเป็น เอกชนสามารถรับได้ แต่หากจะนำมาฉีดให้ประชาชน ต้องเป็นไปตามเงื่อนไข เพราะไม่ใช่สินค้าทั่วไป คือได้รับการควบคุมกำกับจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เพื่อให้เกิดความปลอดภัย

“ที่ผ่านมา เรารับบริจาคกันไม่ใช่เรื่องง่ายๆ ต้องถามต้นทาง ดูเอกสารให้ครบ นอกจากนั้นก็ต้องให้กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ช่วยดูด้วย ใครจะบริจาคอะไรก็ได้ แต่หากเอาวัคซีนมาฉีดให้คน ต้องมีหน่วยงานควบคุม กำกับ ไม่อย่างนั้น ใครจะเอายามาให้ใครกินก็ได้ ดังนั้น จะต้องดูว่าใครจะเป็นผู้รับผิดชอบความปลอดภัย ประสิทธิภาพ ซึ่งไม่เหมือนกับที่เราไปซื้อจากโรงงาน ที่เซ็นสัญญาชัดเจน มีผู้ผลิตชัดเจน เว็บตรง / บาคาร่าเว็บตรง